กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่ ข้อกำหนดตัวอย่าง

กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. 1. พนักงานราชการพิเศษ 🞎 ปฏิบัติงานตามเวลาการปฏิบัติราชการปกติ 🞎 ปฏิบัติงานตามระยะเวลา ดังนี้.................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................ 🞎 ปฏิบ ิงานตามผลผลิตของงาน ดงนั ี้.......................................................
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. พนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป 🗆 ปฏิบัติงานตามเวลาการปฏิบัติราชการปกติ 🗆 ปฏิบัติงานตามระยะเวลา ดังนี้………………….……………………… …………………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………..………………… 🗆 อื่น ๆ ...…………………………………………………..……………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. พนกงานราชการท่วไป ..............ต้งแต่วันที่ ....................................... ถึงวนที่ ..........................................
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. ๑. พนักงานราชการพิเศษ
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. ☑ ปฏิบัติงานตามเวลาการปฏิบัติราชการปกติ
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. พนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป Comment [L12]: กรณีเป็ นเวลาปฏิบตั ิราชการ ปกติ ซ่ึงคือ 8.30 น.-16.30 น. 🗆 ปฏิบัติงานตามเวลาการปฏิบัติราชการปกติ 🗆 ปฏิบัติงานตามระยะเวลา ดังนี้………………….……………………… …………………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………..………………… 🗆 อื่น ๆ ...…………………………………………………..……………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. ให้ปฏิบัติงานตามเวลาปฏิบัติราชการปกติ แต่ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานอาจมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ หรือมีคําสั่งให้ปฏิบั ติหน้าที่ เป็นอย่างอื่นได้ โดยไม่ต้องแก้ไขสัญญาและพนักงานราชการยินยอมปฏิบัติตามคําสั่งของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยถือเป็นการกําหนดระยะเวลาการปฏิบัติงานตามสัญญานี้ (ลงชื่อ) กรม ( ) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. พนักงานราชการทั่วไป หมายเหตุ ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ สํานักงานอาจมีคําสั่งเปลี่ยนแปลง ระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่หรือมีคําสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างอื่นได้ โดยไม่ต้องแก้ไขสัญญา และพนักงานราชการ ยินยอมปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงาน โดยถือเป็นการกําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติงานตามสัญญานี้
กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่. พนกงานราชการท่วไป ..............ต้งแต่วันที่ ......................................... ถึง ...................................................... หมายเหตุ ในกรณีที่มีความจําเป็นเพ่ือประโยชน์ของทางราชการ สํานักงานอาจมีคําสั่ง เปล่ียนแปลงระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าท่ีหรือมีคําสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างอื่นได้ โดยไม่ต้องแก้ไขสัญญา และ พนักงานราชการยินยอมปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงาน โดยถือเป็นการกําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติงานตาม สัญญานี้

Related to กําหนดระยะเวลาการมาปฏิบัติหน้าที่

  • เงินค่าจ้างล่วงหน้า ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้าง เป็นจํานวนเงิน บาท (………-………..….…) ซึ่งเท่ากับร้อยละ……-....…( ) ของราคาค่าจ้าง ตามสัญญาที่ระบุไว้ในข้อ 4 เงินค่าจ้างล่วงหน้าดังกล่าวจะจ่ายให้ภายหลังจากที่ผู้รับจ้างได้วางหลักประกันการรับเงิน ค่าจ้างล่วงหน้าเป็น (หนังสือค้ําประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร ภายในประเทศหรือพันธบัตรรัฐบาลไทย)……………-……....เต็มตามจํานวนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับ จ้างจะต้องออกใบเสร็จรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าตามแบบที่ผู้ว่าจ้างกําหนดให้และผู้รับจ้างตกลงที่จะกระทําตามเงื่อนไข อันเกี่ยวกับการใช้จ่ายและการใช้คืนเงินค่าจ้างล่วงหน้านั้น ดังต่อไปนี้

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถนําผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนํามาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนดจะถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือ ทําสัญญากับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไว้ชั่วคราว

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงานแต่ บางส่วนที่ได้รับอนญาตเป็นหนงสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้าง หลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหนา้ ที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อของผู้รับจ้าง ช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างชวงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • การควบคุมงานโดยผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างตกลงว่าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง มีอำนาจที่จะ ตรวจสอบและควบคุมงานเพื่อให้เป็นไปตาม สัญญานี้ และมีอำนาจที่จะสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างขัดขืน ไม่ปฏิบัติตาม ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษา มีอำนาจ ที่จะสั่งให้หยุดการ นั้นชวคราวได้ ความล่าชา้ ในกรณีเช่นนี้ ผู้รับจ้างจะถือเป็นเหตุขอขยายระยะเวลา การปฏิบัติงานตามสัญญาหรือเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ ไม่ได้ทงสิ้น

  • แบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน ผู้รับจ้างรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจในแบบรูปและรายการละเอียดโดยถี่ถ้วนแล้ว หากปรากฏว่าแบบรูปและรายการละเอียดนั้นผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือทาง เทคนิค ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง เพื่อให้งานแล้วเสร็จบริบูรณ์ คําวินิจฉัยดังกล่าว ให้ถือเป็นที่สุด โดยผู้รับจ้างจะคิดค่าจ้าง ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผู้ว่าจ้าง หรือขอขยายอายุสัญญาไม่ได้

  • ราคากลาง วิธีซอ้ื หรือจ้าง รายช่ือผู้เสนอราคา/ ราคาที่เสนอ (บาท) ผไู้ ด้รับการคดั เลือก/ ราคาท่ีตกลงซอื้ หรือจ้าง (บาท) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขท่ีและวันท่ีของสัญญา

  • วัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และมาตรการ 3 ป. 1 ค. ในการป้องกันการทุจริตของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งสู่หน่วยงาน คุณธรรมและความโปร่งใส โดยเน้นผู้นําหน่วยงานเป็นต้นแบบ โดยผู้บริหารให้ความสําคัญ และแสดงความ ตั้งใจหรือให้คํามั่นที่จะนําพาหน่วยงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม มีความโปร่งใส ปราศจากการทุจริต และพร้อมที่จะได้รับการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามเจตจํานงที่ได้แสดงไว้อย่างจริงใจ ทั้งจาก เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานและจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือสาธารณชนภายนอกหน่วยงาน อีกทั้งส่งเสริม/ สนับสนุนให้หน่วยงานมีการดําเนินงานอย่างมีคุณธรรมและความโปร่งใสมากขึ้น ผ่านการกําหนดทิศทาง นโยบาย มาตรการ โครงการหรือกิจกรรม ตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง