หลักการและเหตุผล ข้อกำหนดตัวอย่าง

หลักการและเหตุผล. ด้วยความท้าทายทงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้นำาในปัจจุบันจึงเผชิญหน้ากับอุปสรรคที่หลาก หลายมากขึ้น รวมถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ดังนนเพื่อให้มนใจว่าความสาเรำ ็จของเราท่มาจนถี ึงวันน้จะคงอยี ต่อไปในอนาคต สิ่งสำาคัญอย่างยิ่งคือเราต้องสร้างผู้นำาที่มี “วิสัยทัศน์” – นักคิดที่มองเห็นภาพรวม และผู้ประสานงานที่เปี่ยม ด้วยความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับผู้คนและสถานการณ์ที่หลากหลาย ผู้นำาของเราควรจะสามารถสร้างคุณลักษณะ ของแบรนด์ให้เป็นรูปธรรม และสร้างแรงบันดาลใจให้แก่พนักงานขององค์กรเพื่อที่จะมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ในฐานะของผู้ให้บริการ พนักงานของเราถือว่าเป็นทรัพย์สินที่สำาคัญที่สุดในการมอบบริการที่มีคุณภาพให้แก่ลูกค้า และยังมี ส่วนช่วยให้องค์กรบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนตามที่ผู้นำาของเราได้กำาหนดทิศทางไว้อีกด้วย เรามุ่งเน้นให้บุคลากรของ เรามีโอกาสได้รับการฝึกอบรมและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบัน ยิ่งไปกว่านั้น สิ่งที่สำาคัญไม่แพ้กันสำาหรับเราก็คือ บุคลากรของเราจะต้องรู้สึกมีส่วนร่วม มีความรักความผูกพัน และมีความ สุขในการทำางาน พนักงานของเอไอเอสจำาเป็นที่จะต้องได้รับการอบรมและได้รับโอกาสในการเรียนรู้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง บริษัทมุ่งเน้นในการ จัดหาและนำาเสนอหลักสูตรการพัฒนาบุคคลที่ดีที่สุดให้กับพนักงานของเราอย่างต่อเนื่อง ตงแต่การคัดเลือกกลุ่มพนักงานที่มี ศักยภาพและมีความสามารถโดดเด่น จนถึงการสร้างความผูกพันระหว่างพนักงานกับบริษัท การส่งเสริมให้พนักงานได้รับการ พัฒนาทงทางด้านส่วนตัวและด้านการทำางาน และการให้รางวัลและการเชิดชูเกียรติแก่พนักงานและผู้บริหารที่มีความสามารถ ประเด็นสำาคัญ ส่งเสริมบุคลากรของเราให้เติบโตในทุกย่างก้าว คำามั่นสัญญา • พัฒนาผู้นำาที่มีวิสัยทัศน์และสอดคล้องกับคุณลักษณะของแบรนด์ • สร้างโอกาสให้บุคลากรได้เรียนรู้และพัฒนาเพื่อที่จะนำาพาเอไอเอสไปสู่เป้าหมายภายใต้กรอบแห่ง ความยั่งยืน เป้าหมาย สร้างทีมงานที่เป็นเลิศ บ่มเพาะบุคลากรที่มีศักยภาพ สร้างความผูกพันระหว่าง พนักงานกับองค์กร
หลักการและเหตุผล. สัญญาที่หน่วยงานภาครัฐตกลงทํากับภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจอาจปรากฏออกมาในหลายรูปแบบเช่น สัญญาจัดซื้อพัสดุ สัญญาจ้างทําของหรือสัญญาก่อสร้าง สัญญาจ้างที่ปรึกษา เป็นต้น สัญญาดังกล่าวมี พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ได้วางหลักเกณฑ์กําหนดสิทธิหน้าที่ในการ บริหารสัญญาไว้โดยเฉพาะแล้ว อย่างไรก็ตามเมื่อภาครัฐกับภาคเอกชนมีข้อพิพาทในสัญญา สิ่งที่จําเป็นจะต้อง พิจารณาเพื่อประกอบการตีความเนื้อหาในสัญญาด้วยเสมอ คือสัญญานั้นเป็นสัญญาทางแพ่ง ซึ่งภาครัฐตกลงทํากับ ภาคเอกชนในฐานะเป็นคู่สัญญาที่เท่าเทียมกัน หรือเป็นสัญญาทางปกครองที่ภาครัฐได้อาศัยอํานาจรัฐที่เหนือกว่าเข้า มากําหนดเนื้อหาความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน อันจะนําไปสู่นิติวิธีในการตีความสัญญาที่แตกต่างกันออกไปด้วย ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐจึงจําเป็นต้องทําความเข้าใจในนิติสัมพั นธ์ในทางแพ่งและทางปกครอง รวมถึง หลักเกณฑ์ วิธีการการบริหารสัญญาตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ เพื่อจัดการให้เกิดความสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะกับประโยชน์ของเอกชน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นถึงความสําคัญดังกล่าว จึงกําหนดจัด โครงการฝึกอบรมหลักสูตร กลยุทธ์การบริหารสัญญาภาครัฐอย่างมืออาชีพ (ออนไลน์) ปี 2565 ขึ้น
หลักการและเหตุผล. ตามที่กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัด (คบจ.) ตามคำสั่งที่ ๔๒๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ ให้มีอำนาจหน้าที่สนับสนุนเศรษฐกิจของส่วนภูมิภาคให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการประสานแผนงานและโครงการของกระทรวงการคลังตามนโยบาลรัฐบาล โดย มุ่งเน้นการดำเนินงาบอย่างบูรพาการการทำงาบของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลังร่วมกันให้เป็นไปใน ท ิศทางเดียวกัน และจากมติในการประชุมของทีมเฉพาะกิจวายุภักษ์เพือการแปลงยุทธศาสตร์ กระทรวงการคลังสู,ภูมิภาค เมื่อวับที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบมอบรางวัลคณะผู้บริหารการคลังประจำ จังหวัด (คบจ.) ดีเด่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้กับ คบจ. ที่ผ่านเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๔๓ รางวัล แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ๑) รางวัลระดับดีเลิศ ๒) รางวัลระดับดีเด่น ๓) รางวัลระดับดี ๔) รางวัล ระดับซมเชย ซึ่งคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดจันทบุรีได้รับรางวัลในระดับดีเลิศ โดยได้รับโล่รางวัล ใบ ประกาศเกียรติคุณ และเงินรางวัล จำนวน ๑๒๐,๐๐๐ บาท (หนี่งแสนสองหมื่นบาทถ้วน) นั้น เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับหน่วยงานใน คบจ. ที'ได้ร่วมกันบูรณาการจนมีผลการ ดำเนินงานตามนโยบายในระดับดีเลิศ สมควรได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ คณะผู้บริหารการคลังประจำ จังหวัดจันทบุรี จึงเห็นควรจัดโครงการ ‘'ศึกษาดูงานคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัด (คบจ.) ขับเคลื่อนสู่ ความเป็นเลิศ” ของ คบจ.จันทบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น โดยมุ่งหวังเพิมประสิทธิภาพในการ ขับเคลื่อนโครงการต่าง ๆ ของกระทรวงการคลังตามนโยบาลรัฐบาล และมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ การเรียนรู้ในพื้นที่ที่แตกต่างกันทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิงแวดล้อม เพื่อนำแนวทางประสบการณ์ที่ได้รับมา ประยุกต์ และพัฒนาเป็นแนวทางสู่ความเป็นเลิศของคณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัดจันทบุรีต่อไป
หลักการและเหตุผล. จากผลการจัดทําโครงการกิจกรรมสงเสริมความจําและชะลอภาวะสมองเสื่อม ในผูสูงอายุ ปงบประมาณ 2562 มีผูสูงอายุเขารวมโครงการเปนจํานวนมาก ซึ่งในการจัดกิจกรรมในครั้งนั้นไดมี การประเมิน Montreal Cognitive Assessment (MOCA) เพื่อประเมินความเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเส่ือม พบวา รอยละ 70 ของผูเขารวมโครงการมีภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อม นอกจากนี้ยังมีการทดสอบการทรงตัว และ พบวาผูสูงอายุสวนใหญมีระดับการทรงตัวที่ต่ํา ซึ่งเปนผลทําใหผูสูงอายุเสี่ยงตอการหกลมไดงายกวาปกติ จากผลการ ประเมินความเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเสื่อมและการทดสอบการทรงตัว ทําใหเห็นวาผูสูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงตอการ เกิดภาวะสมองเสื่อมหรือกลุมผูสูงอายุที่เปน mind cognitive นั้นจะมีระดับการทรงตัวที่ต่ําไปดวย ดังนั้นเพื่อปองกันผูสูงอายุไมใหเปนโรคสมองเสื่อมและปองกันการลมในผูสูงอายุ ที่มีภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อมหรือกลุมผูสูงอายุที่เปน mind cognitive จึงไดจัดทําโครงการขยับขจัดสมอง เสื่อม เพื่อกระตุนสมองและชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมดวยการออกกําลังกายและฝกสมองดวยการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่เนนการกระตุนสมองเปนหลัก วัตถุประสงค
หลักการและเหตุผล. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 250 บัญญัติไว้ว่า…องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอํานาจดูแลและจัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชน ในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การจัดทําบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะใดที่สมควรให้เป็นหน้าที่และอํานาจโดยเ ฉพาะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ หรือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลัก ในการดําเนินการใด ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติซึ่งต้องสอดคล้องกับรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามวรรคสี่ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับกลไกและขั้นตอนในการกระจายหน้าที่ และอํานาจ ตลอดจนงบประมาณและบุคลากรที่เกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจดังกล่าวของส่วนราชการให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ในการจัดทําบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะใดที่เป็นหน้าที่และอํานาจขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ถ้าการร่วมดําเนินการกับเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐหรือการมอบหมายให้เอกชน หรือหน่วยงาน ของรัฐดําเนินการ จะเป็นประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นมากกว่าการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดําเนินการเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะร่วมหรือมอบหมายให้เอกชนหรือหน่วยงานของรัฐดําเนินการนั้นก็ได้ รัฐต้องดําเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ของตนเองโดยจัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษี ที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถดําเนินการ ตามวรรคหนึ่งได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างที่ยังไม่อาจดําเนินการได้ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปพลางก่อน
หลักการและเหตุผล. ในปัจจุบันไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชนให้ความสำคัญกับ “คน” หรือ “กำลังคน” เพราะถือว่าคน เป็นทรัพยากรอันมีค่าที่สุด เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ที่ส่งผลให้หน่วยงานประสบความสำเร็จตาม เป้าหมาย กำลังคนเป็นทรัพยากรที่มีชีวิตจิตใจ และไม่สามารถนำมาทดแทนกันได้ในลักษณะที่มีความสามารถ เท่ากันแบบคนต่อคน เนื่องจากศักยภาพของคนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้น หัวใจสำคัญในการดำเนินงาน ของหน่วยงานจึงขึ้นอยู่กับ “คุณภาพของคนและจำนวนกำลังคนที่เหมาะสม” การเตรียมความพร้อมโดยการ วางแผนกำลังคน การมีแผนในการพัฒนาบุคลากรขององค์กร ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสำนักงาน จึงเป็น ภารกิจที่สำคัญของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา จากพระราชบัญญัติ ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๘ ระบุให้สำนักงานราชบัณฑิตยสภามีอำนาจหน้าที่เพิ่มขึ้นจากพระราชบัญญัติฉบับ เดิมหลายประการ เช่น จัดการศึกษาอบรมและพัฒนาทางวิชาการตามข้อบังคับราชบัณฑิตยสภา ส่งเสริมแ ละ สนับสนุนให้มีการแปลสรรพวิชาจากภาษาอื่นเป็นภาษาไทยหรือจากภาษาไทยเป็นภาษาอื่น และจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์และสิทธิประโยชน์แก่สมาชิกราชบัณฑิต ประกอบกับสำนักงานราชบัณฑิตยสภาได้จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ตามนโยบายภาษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2561 – 2564) เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานตามนโยบายภาษาแห่งชาติที่ตระหนักถึงบทบาทและความสำคัญของภาษา ซึ่งถือเป็นกลไกหลัก ประการหนึ่งของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อันนำไปสู่การเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศภายใต้ทิศทางการ พัฒนาที่เปลี่ยนผ่านจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงให้มีความมั่นคงและยั่งยืน ซึ่งสนับสนุนการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) และกรอบการพัฒนาในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาติที่ว่าด้วย ความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) ที่ให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการ ยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และการสร้างสภาวะแวดล้อมที่สันติสุขในชาติ ทั้งนี้ นโยบาย ภาษาแห่งชาติมีความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายในนโยบายหลัก 6 นโยบาย ได้แก่
หลักการและเหตุผล. ปัจจุบันผู้ใช้ไฟฟ้าบางส่วนที่ชําระเงินค่าไฟฟ้าล่าช้าไม่ตรงตามกําหนดและไม่ได้รับหนังสือแจ้งเตือนเป็น ลายลักษณ์อักษรก่อนการงดจ่ายไฟ จึงเป็นสาเหตุทําให้ผู้ใช้ไฟฟ้ากลุ่มนี้ได้รับผลกระทบจากการถูกงดจ่ายไฟฟ้าและ ได้ร้องเรียนไปยังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือนร้อนของผู้ใช้ไฟฟ้า แต่ละราย โดยคํานึงถึงระยะเวลาและสร้างความพึงพอใจในการให้บริการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึงได้กําหนด มาตรการการแจ้งเตือนให้ผู้ใช้ไฟฟ้าชําระเงินค่าไฟฟ้าก่อนจะดําเนินการงดจ่ายไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก ๕ วัน (นับแต่วันที่ครบ กําหนดชําระเงินค่าไฟฟ้า) นอกจากนั้นผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้มีหนังสือสั่งการให้ทุกการไฟฟ้าส่งหนังสือแจ้ง เตือนทุกราย เมื่อผู้ใช้ไฟฟ้าไม่ชําระค่าไฟฟ้าตามกําหนดเวลา ณ สถานที่ที่ใช้ไฟฟ้า หรือสถานที่อื่นตามที่การไฟฟ้า คู่สัญญา ได้ตกลงกับผู้ใช้ไฟฟ้าไว้ โดยผู้ใช้ไฟฟ้าต้องชําระเงินค่าไฟฟ้าภายในกําหนดเวลาที่ปรากฏตามหนังสือแจ้ง เตือน ซึ่งการส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ พบปัญหาส่งไม่ถึงหรือส่งล่าช้า ทําให้ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่ได้รับใบแจ้งเตือน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึงพัฒนาระบบงานแจ้งเตือนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ค้างชําระค่าไฟฟ้าเกินกําหนด โดยดําเนินการผ่านเว็บ แอพพลิเคชั่น และ Smart Phone เพื่อแก้ไขปัญหาที่ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่ได้รับการแจ้งเตือน หรือได้รับการแจ้งเตือนล่าช้า อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้กระดาษ ในการสนับสนุนการดําเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอําเภอทุ่งใหญ่มีความประสงค์จ้างเหมาบุคคลภายนอกปฏิบัติเกี่ยวกับ มิเตอร์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ยกเว้นมิเตอร์ที่ติดตั้งกับหม้อแปลงเฉพาะราย) ทําหน้าที่แจ้งเตือนก่อนการงด จ่ายไฟผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทเอกชนรายย่อย ตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ในเขตพื้นที่ ระบบจําหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอําเภอทุ่งใหญ่
หลักการและเหตุผล. ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่สำคัญทั่วโลก โลกกำลังเผชิญกับวิกฤติครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของมวลมนุษยชาติ วิกฤติทาง สาธารณสุขครั้งนี้ได้สร้างปัญหาทางเศรษฐกิจที่หนักที่สุดครั้งหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง/รวดเร็ว/ และเป็นวงกว้างมากที่สุด กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหลักด้านสุขภาพของประเทศ ได้บริหารจัดการ และรับมือกับ สถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความสำเร็จในการบริหารจัดการสถานการณ์ โควิด -19 ที่ได้รับ การชื่นชมจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของระบบสาธารณสุขไทยได้อย่างดีที่สุด โดยกระทรวงสาธารณสุข ยังคงเป็นผู้นำในการออกแบบระบบสาธารณสุข เพื่อสร้างระบบสาธารณสุขท่ีดีท่ีสุด เหมาะสมที่สุดสำหรับประเทศไทย และทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย โดยร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขไทยให้ก้าวไกลระดับโลก ด้วยการบริหารจัดการ และการเตรียมความ พร้อม จึงได้กำหนดแนวทางด้านสาธารณสุขเพื่อควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคระบาด ตลอดจนเพื่อให้ แน่ใจว่าองค์กร บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนทั่วไป มีความพร้อมในการป้องกันสุขภาพ พร้อมด้วย วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมใหม่ภายใต้ระบบใหม่ การบรรลุเป้าหมายสู่การเป็นระบบสาธารณสุขที่ดีที่สุดได้นั้น กิจกรรมไมซ์เป็นกลไกสำคัญในการ ขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จได้ ประเทศไทยมีองค์ความรู้ในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขเป็น เจ้าภาพร่วมกับสำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย หรือ ททท. และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. จึงได้ร่วมกัน จัดทำ โครงการการขับเคลื่อนเศรษฐกิจผ่านการจัดงาน “Thailand International Health Expo 2021 สร้างสุขภาพ เสริมเศรษฐกิจ เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชน” เป็นโครงการที่จะประกาศศักยภาพ และ ความสำเร็จ ของการแพทย์ และระบบสาธารณสุขไทย ด้วยการสร้างความเชื่อมั่น และแสดงให้เห็นถึงการ บริหารจัดการ การควบคุมโรคระบาดโควิด-19 เพื่อเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เพิ่มคุณภาพชีวิตของ ประชาชน การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งประชาชน ภาครัฐ และเอกชน แสดงความเป็นผู้นำของกระทรวง สาธารณสุขไทย ด้วยการส่งเสริม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ การประชุม บทบาทการแพทย์ และระบบสาธารณสุข ไทย มาตรฐานสากล อีกทั้งยังเป็นโครงการที่จัดขึ้นสำหรับประชาชนทั่ว ไป บุคลากรด้านสุขภาพ และ ผู้ปฏิบัติงานทั่วโลก เพื่อแบ่งปันความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม ประสบการณ์ และศักยภาพทางด้านระบบ สาธารณสุขของไทยอีกด้วย สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานตรงที่รับผิดชอบการ สนับสนุนส่งเสริมเพื่อให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้าในประเทศไทย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ดังกล่าว และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของการใช้งานแสดงสินค้าเป็นพื้นฐานของการสร้างงาน และสร้างคุณค่าให้กับ...
หลักการและเหตุผล. 1.1 ความตกลงความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น ไทย-นิวซีแลนด์ (Thailand-New Zealand Closer Economic Partnership Agreement: TNZCEP) ลงนามเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2548 และมี ผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2548 โดยความตกลงฯ ครอบคลุมการเปิดเสรีการค้าสินค้า การลงทุน และ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในสาขาต่างๆ ปัจจุบันไทยลดภาษีเป็น 0 ไปแล้วจํานวนร้อยละ 99.17 ของจํานวน รายการสินค้าทั้งหมด ในขณะที่นิวซีแลนด์ลดภาษีสินค้าทั้งหมดเป็น 0 แล้ว ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558
หลักการและเหตุผล. การกํากับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ (Compliance) ซึ่งรวมเรียกว่าการบูรณาการ Governance, Risk and Compliance หรือ GRC เป็นการกํากับดูแลองค์กรให้ดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสเละปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ เพื่อมุ่งสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการพิจารณาปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างรอบด้าน พร้อมสื่อสารกลยุทธ์ นโยบาย และหลักการสําคัญต่างๆ ให้ทุกส่วนงานนําไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งครอบคลุมทั้ง “การบริหารความเสี่ยง” (Risk Management) ที่มีประสิทธิภาพ ยืดหยุ่น ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ลดความเสี่ยงหรือเพิ่มโอกาสในการบรรลุวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ที่กําหนดไว้ และ “การปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบต่างๆ” (Compliance) อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) จึงนําหลักการ GRC มาประยุกต์ในองค์กรเพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่าระบบ การควบคุมมีความเหมาะสม การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล มีการระบุความเสี่ยง และใช้ทรัพยากร ในการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนการดําเนินงานตามระบบการประเมินผลการดําเนินงาน รัฐวิสาหกิจ (SE-AM) ด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน หัวข้อธรรมาภิบาลและวัฒนธรรม องค์กร โดยให้มีการกําหนดนโยบาย GRC การนํานโยบายไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการวัดประสิทธิผล ของนโยบายเพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงาน GRC ของ กฟภ. จึงดําเนินการจ้างที่ปรึกษาประเมิน ช่องว่าง (Gap) การดําเนินงาน GRC ของ กฟภ. ในปัจจุบัน เพื่อจัดทํากลยุทธ์และแผนงานพัฒนาการบูรณาการ GRC ของ กฟภ. (GRC Strategy and Roadmap) ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อให้ กฟภ. สามารถดําเนินงาน GRC ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน รวมถึงสนับสนุนการบูรณาการ GRC ด้วยการ กําหนดฐานข้อมูลที่หน่วยงานใช้ร่วมกัน และนําระบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการบูรณาการงานด้าน GRC