บทนํา ข้อกำหนดตัวอย่าง

บทนํา. ภูมิหลัง.................................................................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย........................................................................ 5 ขอบเขตของการวิจัย............................................................................... 5 คํานิยามเฉพาะที่ใช้ในการวิจัย................................................................ 6 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการสํารวจ......................................................... 9
บทนํา. DPU แมประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม แตจนปจจุบันปญหาราคาพืชผลการเกษตร ตกต่ําก็ยังคงเปนปญหาระดับประเทศ ประกอบกับเกษตรกรสวนใหญจะนําราคาสินคาในอดีตมา วางแผนการเพาะปลูกในอนาคตซึ่งมีโอกาสผิดพลาดสูง แนวทางแกไขปญหาที่ดีและเหมาะสม ที่สุดวิธีหนึ่ง คือ จะตองทําใหเกษตรกรคาดการณราคาสินคาลวงหนาเพื่อสามารถวางแผนการ เพาะปลูกได ดวยเหตุนี้จึงนํามาซึ่ง “การซื้อขายลวงหนา” ในประเทศไทยการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนาเกิดขึ้นอยางเปนทางการโดย พระราชบัญญัติการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 แตเนื่องจากเนื้อหาใน พระราชบัญญัติมุงเนนไปที่การจัดตั้งตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทยมากกวาจะให รายละเอียดและลักษณะทางกฎหมายของการซื้อขายลวงหนา ดวยเหตุนี้ ผูเขียนจึงไดศึกษา ลักษณะทางกฎหมายของสัญญาซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา เพื่อทายที่สุดแลวหากสามารถวิจัย หรือหาคําตอบไดวา นิติสัมพันธที่เกิดขึ้นในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ มีลักษณะทางกฎหมาย เปนเชนใด ก็จะสามารถนําผลบังคับทางกฎหมายของนิติสัมพันธที่เกิดขึ้นนั้นมากําหนดไวใน ขอบังคับการซื้อขายฯ หรือ Contract Specification ซึ่งถือเปนสัญญามาตรฐานที่ผูซื้อและผูขาย ตองยอมรับและบังคับตามไดอยางถูกตองตรงตามหลกกฎหมายของนิติสัมพันธที่เกิดขึ้น และเมื่อ ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ มีขอบังคับการซื้อขายที่ถูกตองเหมาะสมก็จะชวยดึงดูดนักลงทุน เกษตรกร พอคาคนกลาง เจาของโรงงาน ตลอดจนผูสงออกใหหันมาใชกลไกตลาดลวงหนาใน การบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาสินคา และเมื่อปริมาณการซื้อขายในตลาดสินคา เกษตรลวงหนาฯ มีมากขึ้นก็ไมเปนการยากที่จะทําใหราคาลวงหนาสินคาเกษตรที่ซื้อขายในตลาด สินคาเกษตรลวงหนาฯ ถูกใชเปนราคาอางอิงในระดับสากล
บทนํา. ผู้เรยบเรยง : วนิดา อินทรอํานวย วิทยากรชํานาญการพิเศษ กลุ่มงานพัฒนากฎ👉มาย สํานักกฎ👉มาย
บทนํา. 1 ตัวอย่างสัญญาธุรกิจแฟรนไชส
บทนํา. ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นอีกหนึ่งรูปแบบในการประกอบธุรกิจสําหรับผู้ประกอบการที่ต้องการขยายกิจการ ท้ังในฐานะผู้ขายแฟรนไชส์ (Franchisor: แฟรนไชส์ซอร์) หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์ (Franchisee: แฟรนไชส์ซี) ตลอดจนสําหรับบุคคลที่ตองการเร่ิมต้นประกอบการหรือลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส์ที่มีศักยภาพ ในการที่แฟรนไชส์ซอร์กับแฟรนไชส์ซีจะตกลงทําธุรกิจเปิดร้านแฟรนไชส์ร่วมกันนั้น นอกเหนือจากการ มีข้อสรุปทางธุรกิจที่เป็นที่พอใจในเรื่องของรูปแบบธุรกิจและโอกาสในการสรางผลกําไรแล้ว อีกส่ิงหนึ่งที่สําคัญที่ ต้องคํานึงถึงคือ สัญญาธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise Agreement) โดยสัญญาธุรกิจแฟรนไชส์ที่ดีนั้น เมื่อมีการ ปฏิบัติตามสัญญาแล้ว จะช่วยให้ทั้งแฟรนไชส์ซอร์และแฟรนไชส์ซีได้รับความพึงพอใจและผลประโยชน์ร่วมกัน อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในฐานะหน่วยงานผู้ให้การสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มาอย่างต่อเนื่อง เห็นถึงความสําคัญของสัญญาธุรกิจแฟรนไชส์ จึงจัดทํา “ตัวอย่างสัญญาธุรกิจแฟรนไชส์” เพื่อให้ผู้ประกอบการทั้งแฟรนไชส์ซอร์และแฟรนไชส์ซีได้ศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการร่างสัญญาธุรกิจ แฟรนไชส์ อย่างเหมาะสมและสอดคลองกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ของตนเอง
บทนํา. 1.1 มหาวิทยาลัยบูรพา ส่งเสริมและสนับสนุนให้นิสิตและบุคลากรใช้ ระบบเครือข่ายเพื่อ กิจกรรมที่ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ และปณิธานของมหาวิทยาลัย
บทนํา. ความไว้วางใจ (Trust) นอกจากจะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้ ผู้เรียนอยากเรียนรู้ไปกับผู้สอนแล้ว ยังเป็นปัจจัยที่ส่งผลทำให้ผู้เรียน เรียนรู้ไปกับผู้สอนได้ตลอดรอดฝั่ง ไม่ล้มเลิกกลางคันแม้ว่ายังอยาก เรียนอยู่ (Brown out) แต่มีความมุ่งมั่นพยายาม อดทนจนประสบ ความสำเร็จในการเรียนรู้
บทนํา. ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) นิยามศัพท์/นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ และข้อจำกัดการวิจัย (ถ้ามี)
บทนํา. สภาวิชาชีพบัญชีได้มีการประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ซึ่งหนึ่งในมาตรฐานรายงาน ทางการเงินที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อหลายกิจการคือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า (TFRS 16) เนื่องจาก การเช่าถือเป็นธุรกรรมที่สําคัญของหลายๆกิจการ ซึ่งการเช่าเป็นวิธีในการ ให้ได้รับสิทธิในการเข้าถึงสินทรัพย์ การจัดหาเงินทุน และการลดฐานะเปิดต่อความเสี่ยงของความเป็น เจ้าของสินทรัพย์ของกิจการ เนื่องจากความแพร่หลายของการเช่า ดังนั้น จึงมีความสําคัญที่ผู้ใช้งบการเงิน ควรได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในลักษณะการนําเสนอรายการที่เป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ให้ข้อมูลพื้นฐานแก่ผู้ใช้งบการเงินในการประเมินผลกระทบของสัญญาเช่าที่มีต่อฐานะการเงิน ผลการ ดําเนินงานทางการเงิน และกระแสเงินสดของกิจการ ซึ่งวิธีการบัญชีเดิมสําหรับสัญญาเช่าตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 17 (TAS 17) เรื่องสัญญาเช่า ได้กําหนดให้ผู้เช่าและผู้ให้เช่าจัดประเภทสัญญาเช่าเป็นสัญญา เช่าการเงินหรือสัญญาเช่าดําเนินงานและบันทึกบัญชีสําหรับสัญญาเช่าทั้งสองประเภทนี้อย่างแตกต่างกัน ซึ่งวิธีการบัญชีดังกล่าวถูกวิจารณ์ในแง่ที่ไม่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้งบการเงินได้เนื่องจากวิธีการ บัญชีดังกล่าวไม่ได้เป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมสําหรับรายการการเช่าในทุกกรณี โดยเฉพาะการที่ไม่ได้ กําหนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนี้สินที่เกิดขึ้นจากสัญญาเช่าดําเนินงาน ซึ่งส่งผลให้สัญญาเช่าจํานวนมาก ไม่ถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ทั้งที่สิทธิการใช้สินทรัพย์และภาระผูกพันที่ เกิดขึ้นจากสัญญาเช่าเข้านิยามของสินทรัพย์และหนี้สิน รวมทั้งส่งผลให้อัตราส่วนทางการเงินที่สําคัญ ถูกบิดเบือน ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (the International Accounting Standards Board : IASB) และคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกา (the Financial Accounting Standards Board : FASB) ได้ริเริ่มโครงการร่วมกันเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีเกี่ยวกับสัญญาเช่าใหม่ ซึ่งกําหนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนี้สินสําหรับสิทธิและภาระผูกพัน ที่เกิดขึ้นจากสัญญาเช่า คณะกรรมการทั้งสองคณะตัดสินใจว่าผู้เช่าต้องรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินสําหรับ สัญญาเช่าทุกรายการ (ด้วยข้อยกเว้นที่จํากัด) และคณะกรรมการทั้งสองคณะได้ให้คํานิยามสัญญาเช่าใน แนวทางเดียวกัน คณะกรรมการมีข้อสรุปที่คล้ายกันเกี่ยวกับ การวัดมูลค่าของหนี้สินจากสัญญาเช่า และ วิธีการบันทึกบัญชีสัญญาเช่าที่เคยจัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงิน นอกจากนี้คณะกรรมการทั้งสองคณะยัง ได้ตัดสินใจที่จะไม่เปลี่ยนแปลงการบัญชีสําหรับผู้ให้เช่าเกือบทั้งหมด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการมีข้อสรุปที่แตกต่างกันเกี่ยวกับสัญญาเช่าก่อนหน้า ที่เคยจัดประเภท เป็นสัญญาเช่าดําเนินงาน ในส่วนการรับรู้ค่าใช้จ...
บทนํา. 1.1 ความเป็นมาและความสําคัญ