ความเป็นมา ข้อกำหนดตัวอย่าง

ความเป็นมา. เม่อ พ.ศ. 2536 ผน ำรฐบาลไทยได่ร่วมลงนามพรอมกบผน ำของ องค์การสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญเรื่องสิทธิ โอกาส ประเทศในภม ภาคนใี นประกาศการมส วนรวมอยางเตมทแี ละความเสมอภาค และความเสมอภาคของคนพิการ โดยในปี พ.ศ. 2541 ได้ประกาศ ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการทางสติปัญญาและการเรียนรู้ พ.ศ. 2518 ประกาศปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ พ.ศ. 2524 ประกาศให้เป็นปีคนพิการสากล และประกาศให้ช่วงปี พ.ศ. 2526 - 2535 เป็นทศวรรษของคนพิการพร้อมทั้งกำหนดแผนปฏิบัติการโลก เมื่อสิ้นสุดทศวรรษคนพิการแล้วคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคม ของคนพิการในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิคเพื่อเป็นคำมั่นสัญญาใน การพัฒนาคุณภาคชีวิตคนพิการ และขจัดเจตคติที่ไม่ถูกต้องของสังคม ที่มีต่อคนพิการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติ ถึงเร่ืองการคุมครองเสรีภาพ ศกดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิของคนพิการ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถพึ่งตนเองได้ CRPD แห่งเอเซียและแปซิฟิค องค์การสหประชาชาติ ต้องการที่จะปฏิบัต เพอ เปนการนำเจตนารมณในเรอ งสทธิ โอกาส และความเสมอภาค กิจกรรมและรณรงค์เรื่องสิทธิและโอกาสของคนพิการอย่างต่อเนื่อง จึงได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2536 - 2545 เป็นทศวรรษคนพิการ ของภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิค สำหรบประเทศไทย รฐบาลไดตระหนกถึงความสำคญเร่องสิทธิ และโอกาสของคนพิการเช่นกัน โดยหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกับ คนพิการได้ยกร่างพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2520 และเมื่อปีคนพิการสากล พ.ศ. 2524 ไดจ้ ดกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งประกาศใช้แผนการสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ของคนพิการดังที่ปรกฎในรัฐธรรมนุญแห่งราชอาณาจักรไทย ปฏิญญา ขององค์การสหประชาชาติ ประกาศการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และ ความเสมอภาคของคนพิการในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิค แผนงาน และกฎระเบียบอื่น ๆ ที่ได้กำหนดไว้ไปสู่การปฏิบัติ ผู้แทนจากองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับคนพิการทั้งภาครัฐและเอกชน และองค์กรคนพิการ จึงได้ร่วมกันจัดทำปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการไทย เพื่อถือปฏิบัติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนพิการ แห่งชาติระยะยาว (พ.ศ.2525-2534) ในปี พ.ศ. 2534 ได้มีการตราพระราชบัญญัติการฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ และต่อมาไดประกาศกฎกระทรวง ระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งกำหนดนโยบายของรัฐเพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิโอกาส และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างเท่าเทียมกับสมาชิกอื่นในสังคม คณะรฐมนตรีเม่ือวนท่ 10 พฤศจิกายน 2541 CRPD
ความเป็นมา. จากสภาพแวดล้อมในการดําเนินงานท้ังภายในและภายนอกองค์กรซึ่งมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให ริการที่ตอง้ การความถูกตอง้ และรวดเร็วกับบุคคลในองค์กรและบุคคลภายนอกท่ีเข้า มาติดต่อ สํานักงานจึงได้เล็งเห็นความจําเป็นในการประยุกต์ใช้หลักการพัฒนาระบบของ Service Oriented Architecture (SOA) กับระบบสารสนเทศของสํานักงาน เพื่อให้ระบบสารสนเทศของสํานักงานสามารถ ให้บริการ Service แก่นักลงทุนภายนอกและภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้ สํานักงานจึงมีความประสงค์ท่ีจะออกแบบและพัฒนา ระบบสนบสนุนงานส่งเสริมการลงทุน (e-Investment Promotion) และระบบงานที่ดิน ตามหลักการพัฒนาระบบของ SOA เพ่ือให้สํานักงานมี ระบบสารสนเทศท่ีมีความเหมาะสม ยืดหยุ่น รองรับการเปล่ียนแปลงท้ังในส่วนของการให้บริการนักลงทุนและ ในส่วนของการบริหารจัดการภายในองค์กร อีกทั้งเพื่อให้สํานักงานสามารถใช้งานข้อมูลสารสนเทศร่วมกัน อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น
ความเป็นมา. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นหน่วยงานกลางของระบบรัฐบาลดิจิทัล ทำหน้าที่ให้บริการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา บริหารจัดการ และให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ดิจิทัลและระบบการให้บริการหรือแอปพลิเคชันพื้นฐานของหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นเกี่ยวกับการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัล ทั้งนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อนุมัติหลักการพัฒนา ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ ซึ่งถือเป็นนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยของ ข่าวสารภาครัฐ ให้ข้าราชการและพนักงานของรัฐยุติการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของเอกชน โดยสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) ได้มอบหมายให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การ มหาชน) เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ ทั้งนี้ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการเชื่อมโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระหว่าง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนาไปสู่รัฐบาลดิจิทัล ในการนี้เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบเพื่อรองรับรูปแบบการทำงานและการรับบริการของบุคลากร ภาครัฐที่สอดรับกับสถานการณ์ Covid-19 ของหน่วยงานรัฐได้ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การ มหาชน) จึงขอรับการส่งเสริม สนับสนุน ความช่วยเหลือ ในการดำเนินการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และ สังคมและรับทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาในเรื่องที่เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จาก กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตามสัญญากองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่อนุมัติให้ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ดำเนินโครงการ ระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ สำหรับให้การ ดำเนินงานในส่วนของการให้บริการมีความต่อเนื่องและมีการพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มากขึ้น ทั้งนี้ในที่ประชุมติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการและการประชุมคณะกรรมการสำนักงาน พัฒนารัฐบาลดิจิทัล ครั้งที่ 11/2564 วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 เห็นชอบทิศทางการให้บริการตามที่มี การนำเสนอ คือระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication: UC) สำหรับให้บริการหน่วยงาน ภาครัฐ ซึ่งจะเป็นการรวมบริการ MailGoThai บริการ GINConference และบริการ G-Chat ให้สามารถ ทำงานร่วมกันได้บนแพลตฟอร์มเดียวกัน โดยมีรูปแบบการลงทะเบียนและพิสูจน์ตัวตนบุคลากร...
ความเป็นมา. ด้วยพื้นที่สถานีสุวรรณภูมิ ในโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและสถานี รับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง เป็นสถานีที่อยู่ใต้ดินและได้มีระบบระบายอากาศและควบคุมอากาศใน อาคารสถานีและอุโมงค์ไว้ เพื่อเป็นการควบคุมการหมุนเวียนอากาศในอุโมงค์และใช้สําหรับระบายอากาศ ของขบวนรถไฟฟ้าที่จอดในสถานี รวมทั้งเพื่อควบคุมในการอพยพดับเพลิงด้วย ทั้งนี้จากการเปิดให้บริการเดินรถในปัจจุบัน พบว่าปล่องลมได้เกิดการชํารุดเสียหายทางด้านโครงสร้าง ซึ่งผนังดังกล่าวอยู่ในพื้นที่รางสําหรับเดินรถไฟฟ้าและพื้นที่ในชั้นจําหน่ายตั๋ว ทําให้ส่งผลกระทบต่อการเดินรถ ดังนั้นการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จํากัด ผู้รับมอบอํานาจ จึงมีความจําเป็นต้องจ้าง ซ่อมแซมผนังอุโมงค์ระบายอากาศ สถานีรถไฟฟ้าสุวรรณภูมิ เป็นจํานวนทั้งสิ้น 14 ปล่อง เพื่อให้มีความ พร้อมในการให้บริการของระบบ และให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้มาใช้บริการสถานีด้วยต่อไป
ความเป็นมา. เนื่องจากสัญญาเช่ารถยนต์โดยสาร (รถตู้) จํานวน 2 คัน ของศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน จะสิ้นสุดสัญญาในวันที่ 30 มิถุนายน 2562 เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีรถยนต์เพียงพอสําหรับใช้ในภารกิจของโรงพยาบาล จึงมีความประสงค์จะดําเนินการ เช่ารถโดยสาร (รถตู้) จํานวน 2 คัน
ความเป็นมา. เนื่องจากสัญญาเช่ารถยนต์โดยสาร (รถตู้) และรถยนต์บรรทุก รวมจํานวน 10 คันของกรม โรงงานอุตสาหกรรม จะสิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2557 กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงมีความประสงค์จะ ดําเนินการเช่ารถยนต์ ดังนี้
ความเป็นมา. ด้วย สัญญาเช่ารถยนต์นั่งส่วนกลางของศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 จ.เชียงใหม่, ภาคที่ 2 จ.นครราชสีมา, ภาคที่ 3 จ.ขอนแก่น, ภาคที่ 5 จ.สงขลา และภาคที่ 6 จ.สุราษฏร์ธานี จะสิ้นสุดสัญญาในวันที่ 30
ความเป็นมา. สํานักงานการค้าต่างประเทศ เขต 2 (หาดใหญ่) ตั้งอยู่เลขที่ 5 ถนนศรีภูวนารถใน ตําบลหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีความประสงค์จะจ้างเหมารักษาความปลอดภัย ให้ทําหน้าที่รักษาความปลอดภัย รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันการโจรกรรมทรัพย์สิน และระมัดระวังป้องกันอัคคีภัยหรือเหตุอื่นใดอันอาจทําให้ เสียความสามารถในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานอันจะเกิดแก่อาคารสถานที่และทรัพย์สิน ที่อยู่ในความดูแลของ สํานักงานการค้าต่างประเทศ เขต 2 (หาดใหญ่) ประจําปีงบประมาณ 2558 ให้เป็นไปตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ความเป็นมา. เนื่องจาก (3) .
ความเป็นมา. จากสถานการณ์ภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 มีแนวโน้มขยายวงกว้างอย่าง ต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ตำบลนามะเขือประสบปัญหา แหล่งน้ำผิวดินแห้งขอด ขุ่น และเป็นพื้นที่ที่ไม่มีแม่น้ำสาย ใหญ่ไหลผ่าน ไม่มีแหล่งน้ำผิวดินขนาดใหญ่ ซึ่งประชาชนอาศัยใช้น้ำ จากลำห้วย หนอง คลอง บึง ตาม ธรรมชาติส่งผลให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนหนัก ไม่มีแหล่งน้ำเพียงพอในการผลิตระบบประปาหมู่บ้าน ที่ ผ่านมาองค์การบริหารส่วนตำบลนามะเขือ ได้พยายามแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคตลอดมา แต่กลับพบว่าแหล่งน้ำไม่เพียงพอในการผลิตประปาให้กับหมู่บ้านในความดูแลได้ ด้วยข้อจำกัดของน้ำบาดาล ในพื้นที่ตำบลนามะเขือซึ่งบางส่วนสะสมตัวอยู่ในชั้นตะกอนน้ำพาที่วางทับอยู่บนหมวดหินมหาสารคาม ที่ทำให้ เกิดปัญหาน้ำบาดาลมีคุณภาพกร่อย เค็ม อย่างไรก็ตาม หากต้องการพัฒนาน้ำบาดาลให้ได้น้ำจืด ต้องอาศัย ข้อมูลจากการสำรวจธรณีฟิสิกส์โดยการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ (Resistivity survey) น้ำบาดาลใน พื้นที่ศึกษาสะสมอยู่ระดับตื้นๆที่เป็นชั้นน้ำไร้แรงดัน (Unconfined Aquifer) ซึ่งได้รับน้ำฝนไปเติมชั้นน้ำ โดยตรงดังนั้น การพัฒนาน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดังกล่าว ต้องใช้ความรู้ในหลายแขนง ทั้งความรู้ ด้านธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์ และความรู้ด้านวิศวกรรมในการออกแบบระบบประปาบาดาล ขนาดใหญ่ จำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้และเทคโนโลยีจากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ คือ กรม ทรัพยากรน้ำบาดาล เพื่อให้มีน้ำบาดาลเป็นแหล่งน้ำต้นทุนที่มั่นคงและเพียงพอสำหรับความต้องการในการ ผลิตประปาหมู่บ้าน สามารถแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำทั้งในด้านการอุปโภค บริโภค ให้กับพื้นที่ตำบลนา มะเขือ ทั้ง 11 หมู่บ้าน ประชากรได้รับประโยชน์กว่า 1,632 ครัวเรือน หรือประมาณ 6,620 คน สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จึงได้จัดทำ “โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่ แก้ปัญหาภัยแล้งอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลนามะเขือ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม” เพื่อ ออกแบบและพัฒนาระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่ โดยคำนึงความต้องการใช้น้ำและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำบาดาลสำหรับอุปโภค บริโภค และแนวทางการบริหารจัดการน้ำบาดาล ที่มุ่งเน้นการใช้ น้ำบาดาลในเชิงอนุรักษ์ ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในภาครัฐและเอกชนเพื่อช่วย บรรเทาและแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำของประชาชนในพื้นที่อย่างยั่งยืนต่อไป